Operations การบริหารจัดการด้านการบริโภค


หน่วยงานของท่านมีนโยบาย/ข้อกำหนด/มาตรการ ในการจัดการขยะอันตรายหรือไม่

1) การจัดการขยะอันตราย

SDGs 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION

 

 

 

 

 

ชื่องานวิจัย : การจัดการขยะอันตราย


คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยทั้งของนักศึกษา บุคลากร ผู้มาปฏิบัติงาน ผู้มารับบริการ และสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัยที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของชุมชนโดยรอบ โดยยึดแนวทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย คณะเทคนิคการแพทย์จึงได้ออกประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ รวมถึงกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ เพื่อแสดงถึงปณิธานและความมุ่งมั่นในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ในการนี้ คณะเทคนิคการแพทย์ ได้รับมอบถังจากศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อใช้ในการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน ประเภท ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่โทรศัพท์ กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมี เพื่อให้การบริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปนเปื้อนของเสียอันตรายสู่สิ่งแวดล้อม และเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามีความตระหนักเรื่องการคัดแยก การเก็บรักษา การส่งกาจัดของเสียอันตราย รวมทั้งมีแนวปฏิบัติในการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนที่ได้มาตรฐานและเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งมหาวิทยาลัย 

ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

1) เพื่อเป็นการให้ความรู้และปลูกจิตสำนึกให้บุคลากรและนักศึกษาทราบถึงอันตรายจากขยะ

2) เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะทั่วไป

3) เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะอันตราย

4) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและลดอันตรายต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากขยะอันตราย

แหล่งทุนสนับสนุน

หน่วยงานที่ร่วมมือ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1) นักศึกษา

2) บุคลากร

3) ผู้มาปฏิบัติงาน

4) ผู้มารับบริการ

ระดับความร่วมมือ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ

1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562

อ้างอิงการดำเนินงาน

https://drive.google.com/drive/folders/1YcEn29793xteMg4VVxfK2Ekkj_PKuoEM?usp=sharing


หน่วยงานของท่านมีนโยบาย/ข้อกำหนด/มาตรการ ในการลดขยะพลาสติกหรือไม่

1) การลดขยะพลาสติก

SDGs 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION

 

 

 

 

 

ชื่องานวิจัย : การลดขยะพลาสติก


คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เห็นถึงความสำคัญในการลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก จึงดำเนินกิจกรรมรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และส่งเสริมให้เกิดความตระหนักปลูกฝังจิตสำนึกให้กับบุคลากร นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ในการลดใช้ถุงพลาสติกซึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายยาก โดยรณรงค์ให้ใช้แก้วน้ำส่วนตัวและใช้ถุงผ้าใส่ของทดแทน

ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

1) เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟม

2) งดใช้ภาชนะประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยใข้แก้วน้ำส่วนตัว ลดการใช้พลาสติกหูหิ้วและใช้ถุงผ้าใส่ของทดแทน

3) รณรงค์สร้างจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม

4) เพื่อส่งเสริมให้บุคลากร นักศึกษา และผู้รับบริการ มีจิตสำนึกและมีส่วนรว่ามในการลดการใช้พลาสติก และภาชนะโฟมบรรจุอาหาร

5) เพื่อลดปริมาณขยะพลาสติก ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร

แหล่งทุนสนับสนุน

หน่วยงานที่ร่วมมือ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1) นักศึกษา

2) บุคลากร

3) ผู้มาปฏิบัติงาน

4) ผู้มารับบริการ

ระดับความร่วมมือ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ

ดำเนินการเป็นประจำทุกปี

อ้างอิงการดำเนินงาน

https://mt.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/home/main/SDGs/2020/SDGs12/2/Plstic-Waste.pdf

https://mt.mahidol.ac.th/2019/04/04/%e0%b8%82%e0%b8%a7%e0%b8%94%e0%b9%81%e0%b8%a5%e0%b8%81%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b9%88-%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b9%89%e0%b8%87%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b9%88-1-2562/


หน่วยงานของท่านมีนโยบาย/ข้อกำหนด/มาตรการ ในการลดปริมาณขยะที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งหรือไม่ เช่น ถุงพลาสติกหูหิ้วหรือแก้วพลาสติก (Single use plastic)

1) การรณรงค์งดใช้ถุงพลาสติก

SDGs 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION

 

 

 

 

 

ชื่องานวิจัย : การรณรงค์งดใช้ถุงพลาสติก


คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่าขยะพลาสติกเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญ ดังนั้น เพื่อลดปัญหามลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและลดภาระให้กับสังคมและโลก คณะฯ จึงแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวมในการลดภาระปริมาณขยะพลาสติกต่อชุมชนและสังคม จึงได้มีการรณรงค์ให้นักศึกษา บุคลากร และประชาชนทั่วไปที่มาใช้บริการร้านค้าภายในโรงอาหารของคณะฯ งดใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติก เช่น ถุงพลาสติก ช้อนพลาสติก และหลอดพลาสติก โดยรณรงค์ให้ใช้แก้วน้ำส่วนตัวและใช้ถุงผ้าใส่ของทดแทน

ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

1) เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก

2) งดใช้ภาชนะประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยใข้แก้วน้ำส่วนตัว ลดการใช้พลาสติกหูหิ้วและใช้ถุงผ้าใส่ของทดแทน

3) รณรงค์สร้างจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม

4) เพื่อส่งเสริมให้บุคลากร นักศึกษา และผู้รับบริการ มีจิตสำนึกและมีส่วนรว่ามในการลดการใช้พลาสติก และภาชนะโฟมบรรจุอาหาร

5) เพื่อลดปริมาณขยะพลาสติก ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร

แหล่งทุนสนับสนุน

หน่วยงานที่ร่วมมือ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1) นักศึกษา

2) บุคลากร

3) ผู้มาปฏิบัติงาน

4) ผู้มารับบริการ

ระดับความร่วมมือ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ

ดำเนินการเป็นประจำทุกปี

อ้างอิงการดำเนินงาน

https://drive.google.com/drive/folders/1YcEn29793xteMg4VVxfK2Ekkj_PKuoEM?usp=sharing


Percentage of waste recycled ร้อยละขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่

1) ปริมาณขยะ

SDGs 12 RESPONSIBLE CONSUMPTION & PRODUCTION

 

 

 

 

 

ชื่องานวิจัย : ปริมาณขยะ


คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นขยะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญ จากการสังเกตปริมาณขยะทั้งหมดในคณะฯ พบว่ามีจำนวนขยะประเภทรีไซเคิลปริมาณมาก คณะฯ จึงได้จัดกิจกรรม MT GREEN DAY ร่วมด้วยช่วยกันลดโลกร้อนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะ และสร้างขยะให้มีมูลค่าเพิ่ม โดยคณะกรรมการพลังงานฯ ได้ให้บุคลากรนำขวดน้ำใส/ขุ่น มาแลกไข่ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวคณะได้จัดเป็นประจำทุกปีโดยได้รับความสนใจจากบุคลากรทั้งในและนอกส่วนงานเป็นจำนวนมาก

ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

1) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวินัยในการแยกและทิ้งขยะให้กับนักศึกษาและบุคลากร

2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของนักศึกษาและบุคลากรในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย โดยการลดภาระการจัดการขยะมูลฝอยและปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอย

3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน

4) ลดปริมาณขยะพลาสติก เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ

แหล่งทุนสนับสนุน

หน่วยงานที่ร่วมมือ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1) นักศึกษา

2) บุคลากร

3) ผู้มาปฏิบัติงาน

4) ผู้มารับบริการ

ระดับความร่วมมือ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ

ดำเนินการเป็นประจำทุกปี

อ้างอิงการดำเนินงาน

https://drive.google.com/drive/folders/1YcEn29793xteMg4VVxfK2Ekkj_PKuoEM?usp=sharing